เอกสารสำหรับยื่นขอ Non-Immigrant Visa
กรณีเป็นครอบครัวของผู้มีสัญชาติ ไทย (เฉพาะบิดามารดา คู่สมรส บุตร บุตรบุญธรรม หรือบุตรของคู่สมรส)
หลักเกณฑ์การพิจารณา
1. คนต่างด้าวต้องได้รับการตรวจลงตรา ประเภทคนอยู่ชั่วคราว
2. มีหลักฐานแสดงความสัมพันธ์
3. กรณีคู่สมรสต้องมีความสัมพันธ์กันทั้งทาง นิตินัยและพฤตินัย หรือ
4. กรณีบุตร บุตรบุญธรรม หรือบุตรของ คู่ส ม ร ส ข อ ยู่ใ น ค ว า ม อุป ก า ร ะ บุต ร บุตรบุญธรรม หรือบุตรของคู่สมรสนั้นต้องยังไม่ได้สมรส
และอยู่อาศัยเป็นส่วนแห่งครัวเรือนนั้น และต้องมีอายุไม่เกิน 20 ปี บริบูรณ์ หรือ
5. กรณีบิดาหรือมารดา บิดาหรือมารดา นั้นต้องมีรายได้เฉลี่ยทั้งปีไม่น้อยกว่าเดือนละ 40,000 บาท หรือต้องมีเงินฝากไม่น้อยกว่า
400,000 บาท เพื่อไว้ใช้จ่ายในรอบ 1 ปี
6. กรณีสมรสกับหญิงไทย ฝ่ายสามีซึ่งเป็น คนต่างด้าวต้องมีรายได้เฉลี่ยทั้งปีไม่น้อยกว่า เดือนละ 40,000 บาท หรือเงินฝากใน ธนาคารในประเทศไทยคงอยู่ในบัญชีตลอด
ระยะเวลาย้อนหลัง 2 เดือน ไม่น้อยกว่า 400, 000 บาท เพื่อไว้ใช้จ่ายในรอบปี
เอกสารประกอบที่ต้องใช้
- แบบคำขอ ตม.7
- สำเนาหนังสือเดินทางของผู้ยื่นคำขอ
- สำเนาหนังสือเดินทางของคนต่างด้าวที่ ได้รับอนุญาตให้อยู่เพื่อศึกษา
- สำเนาเอกสารแสดงความสัมพันธ์กัน เช่น หลักฐานการสมรส สำเนาสูติบัตร หลักฐาน การจดทะเบียนรับรองบุตร สำเนาทะเบียนบ้าน
หลักฐานการจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรม หรือ หลักฐานอื่น จากส่วนราชการหรือหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง กรณีอุปการะบุตรไทย/บุตรไทย เอกสารประกอบที่ต้องใช้
1) แบบคำขอ (ตม.7) พร้อมติดรูปถ่าย จำนวน 1 รูป
2) บันทึกคำให้การ (หมายเลข 3)
3) ใบรับทราบเงื่อนไขการอนุญาตให้อยู่ต่อในราชอาณาจักร (แบบ สตม.2)
4) ใบรับทราบเงื่อนไขเงินฝาก 400,000 บาท ณ วันยื่นคำขอ
5) สำเนาหนังสือเดินทางให้ปรากฏหน้าที่มีรูปถ่าย และหน้าที่มีรอยตราประทับของเจ้าหน้าที่ตรวจคนเข้าเมืองไทย
6) หลักฐานแสดงความสัมพันธ์
6.1 สำเนาสูติบัตรบุตร
6.2 ทะเบียนบ้านบุตร
6.3 สำเนาทะเบียนรับรองบุตร (คร.11) และสำเนาคำพิพากษาของศาล (ถ้ามี)
6.4 ใบสำคัญการสมรส (คร.3) กรณีจดทะเบียนสมรสในประเทศไทย
6.5 สำเนาทะเบียนสมรส (คร.2) กรณีจดทะเบียนสมรสในประเทศไทย
6.6 สำเนาทะเบียนสมรส กรณีจดทะเบียนสมรสในต่างประเทศ
6.7 สำเนาทะเบียนฐานะแห่งครอบครัว (คร.22) กรณีจดทะเบียนสมรสในต่างประเทศ
6.8 สำเนาใบสำคัญการหย่า
6.9 สำเนาทะเบียนการหย่า (คร.6)
7) เอกสารอื่นที่พิสูจน์ได้ว่ามีสัญชาติไทยจากส่วนราชการ หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
8) สำเนาเอกสารหลักฐานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น บัตรประชาชน, ทะเบียนบ้าน, ใบเปลี่ยนชื่อ, ใบเปลี่ยนนามสกุล ฯลฯ
9) หนังสือรับรองจากโรงเรียน (กรณีบุตรกำลังศึกษา)
10) หลักฐานแสดงฐานะของบิดาหรือมารดา
10.1 กรณีทำงานในประเทศไทย
- หนังสือรับรองจากบริษัทผู้ว่าจ้าง (โดยระบุรายละเอียดเกี่ยวกับเงินเดือน เดือนละไม่น้อยกว่า 40,000 บาท)
- สำเนาใบอนุญาตทำงานของคนต่างด้าว
- หลักฐานการชำระภาษีเงินได้พร้อมใบเสร็จรับเงิน (ภ.ง.ด.1 3 เดือนล่าสุด และ ภ.ง.ด.91 ในรอบปีที่ผ่านมา) พร้อมรับรองสำเนาถูกต้อง
จากกรมสรรพากร
- หนังสือรับรองการจดทะเบียนบริษัท และบัญชีรายชื่อผู้ถือหุ้นบริษัท (บอจ.5) หรือ
10.2 กรณีมีเงินฝากธนาคารในประเทศไทย (ออมทรัพย์/ประจำ)
- หนังสือรับรองการมีเงินฝากจากธนาคารในประเทศไทย ณ ปัจจุบัน ไม่น้อยกว่า 400,000 บาท
- สำเนาสมุดบัญชีเงินฝากธนาคาร ณ วันยื่นคำขอ ไม่น้อยกว่า 400,000 บาท หรือ
10.3 กรณีมีรายได้จากต่างประเทศ เช่น เงินบำนาญ ฯลฯ
- หนังสือรับรองจากสถานทูต หรือสถานกงสุลในประเทศไทยของผู้ยื่นคำขอ แสดงการมีรายได้จากเงินบำนาญ หรือ
- รายได้อื่น ไม่น้อยกว่า 40,000 บาท ต่อเดือน หรือ 400,000 บาท ต่อปี พร้อมหลักฐานการโอนเงินรายได้จากต่างประเทศ
7) เอกสารอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น กรณีที่พักอาศัยไม่ตรงตามทะเบียนบ้าน ให้แสดงหลักฐานสัญญาเช่าฯ หรือหนังสือรับรองจากเจ้า บ้านพร้อม
แนบสำเนาทะเบียนบ้าน และบัตรประชาชนเจ้าบ้าน ฯลฯ
8) รูปถ่ายครอบครัว และที่พักอาศัย และ รูปถ่ายหน้าโรงเรียน (กรณีบุตรกำลังศึกษา)
9) แผนที่บ้าน
หมายเหตุ1) ผู้ยื่นคำขอและบุตรผู้มีสัญชาติไทย ต้องมาติดต่อด้วยตนเอง เพื่อมาให้ปากคำ
2) ให้นำหลักฐานเอกสารตัวจริงมาแสดง และถ่ายเอกสารพร้อมรับรองสำเนาถูกต้องด้วยลายมือชื่อของผู้ยื่นคำขอ
กรณีอุปการะภรรยาไทย เอกสารประกอบที่ต้องใช้
1) แบบคำขอ (ตม.7) พร้อมติดรูปถ่าย จำนวน 1 รูป
2) บันทึกคำให้การ (หมายเลข 3)
3) ใบรับทราบเงื่อนไขการอนุญาตให้อยู่ต่อในราชอาณาจักร (แบบ สตม.2)
4) ใบรับทราบเงื่อนไขเงินฝาก 400,000 บาท 2 เดือนย้อนหลัง
5) สำเนาหนังสือเดินทางให้ปรากฏหน้าที่มีรูปถ่าย และหน้าที่มีรอยตราประทับของเจ้าหน้าที่ตรวจคนเข้าเมืองไทย
6) หลักฐานแสดงความสัมพันธ์
6.1 สำเนาใบสำคัญการสมรส (คร.3)
6.2 สำเนาทะเบียนสมรส (คร.2)
6.3 สำเนาทะเบียนสมรส
6.4 สำเนาทะเบียนฐานะแห่งครอบครัว (คร.22)
7) สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน (ภรรยา)
8) สำเนาทะเบียนบ้าน (ภรรยา)
9) เอกสารอื่นที่พิสูจน์ได้ว่ามีสัญชาติไทยจากส่วนราชการ หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
10) สำเนาสูติบัตรบุตร และทะเบียนบ้านบุตร (ถ้ามี)
11) สำเนาเอกสารหลักฐานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น ใบเปลี่ยนชื่อ, ใบเปลี่ยนนามสกุล ฯลฯ
12) สำเนาหนังสือรับรองความเป็นโสดของคนต่างด้าว
13) หลักฐานแสดงฐานะของสามี
13.1 กรณีทำงานในประเทศไทย
หนังสือรับรองจากบริษัทผู้ว่าจ้าง(โดยระบุรายละเอียดเกี่ยวกับเงินเดือน เดือนละไม่น้อยกว่า 40,000 บาท)
สำเนาใบอนุญาตทำงานของคนต่างด้าว
หลักฐานการชำระภาษีเงินได้พร้อมใบเสร็จรับเงิน(ภ.ง.ด.1 3 เดือนล่าสุด และ ภ.ง.ด.91 ในรอบปีที่ผ่านมา) พร้อม
รับรองสำเนาถูกต้องจากกรมสรรพากร
หนังสือรับรองการจดทะเบียนบริษัท และบัญชีรายชื่อผู้ถือหุ้นบริษัท(แบบ บอจ.5) หรือ
13.2 กรณีมีเงินฝากธนาคารในประเทศไทย (ออมทรัพย์/ประจำ)
หนังสือรับรองการมีเงินฝากจากธนาคารในประเทศไทย ณ ปัจจุบัน ไม่น้อยกว่า400,000 บาท
สำเนาสมุดบัญชีเงินฝากธนาคาร ณ วันยื่นคำขอ มีเงินฝากคงอยู่ในบัญชี ตลอดระยะเวลาย้อนหลัง2 เดือน ไม่น้อยกว่า
400,000 บาท หรือ
13.3 กรณีมีรายได้จากต่างประเทศ เช่น เงินบำนาญ ฯลฯ
หนังสือรับรองจากสถานทูต หรือสถานกงสุลในประเทศไทยของผู้ยื่นคำขอ แสดงการมีรายได้จากเงินบำนาญ หรือ
รายได้อื่น ไม่น้อยกว่า40,000 บาท ต่อเดือน หรือ 400,000 บาท ต่อปี พร้อมหลักฐานการโอนเงินรายได้จากต่างประเทศ
14) เอกสารอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น กรณีที่พักอาศัยไม่ตรงตามทะเบียนบ้าน ให้แสดงหลักฐานสัญญาเช่าฯ หรือหนังสือรับรองจากเจ้า
บ้านพร้อมแนบสำเนาทะเบียนบ้าน และบัตรประชาชนเจ้าบ้าน ฯลฯ
15) รูปถ่ายครอบครัว และที่พักอาศัย 4 รูป (หน้าบ้านให้เห็นบ้านเลขที่ 2 รูป, ในบ้าน 2 รูป)
16) รูปถ่ายสถานที่ทำงาน (กรณีแสดงหลักฐานการทำงานในประเทศไทย)
17) แผนที่บ้าน
หมายเหตุ1) ผู้ยื่นคำขอและคู่สมรส ต้องมาติดต่อด้วยตนเอง เพื่อมาให้ปากคำ
2) ให้นำหลักฐานเอกสารตัวจริงมาแสดง และถ่ายเอกสารพร้อมรับรองสำเนาถูกต้องด้วยลายมือชื่อของผู้ยื่นคำขอ
กรณีจดทะเบียนสมรสในประเทศไทย กรณีจดทะเบียนสมรสในต่างประเทศ
กรณีมีสามีไทย เอกสารประกอบที่ต้องใช้
1) แบบคำขอ (ตม.7) พร้อมติดรูปถ่าย จำนวน 1 รูป
2) บันทึกคำให้การ (หมายเลข 3)
3) ใบรับทราบเงื่อนไขการอนุญาตให้อยู่ต่อในราชอาณาจักร (แบบ สตม.2)
4) สำเนาหนังสือเดินทางให้ปรากฏหน้าที่มีรูปถ่าย และหน้าที่มีรอยตราประทับของเจ้าหน้าที่ตรวจคน
เข้าเมืองไทย
5) หลักฐานแสดงความสัมพันธ์
5.1 สำเนาใบสำคัญการสมรส (คร.3)
5.2 สำเนาทะเบียนสมรส (คร.2)
5.3 สำเนาทะเบียนสมรส
5.4 สำเนาทะเบียนฐานะแห่งครอบครัว (คร.22)
6) สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน (สามี)
7) สำเนาทะเบียนบ้าน (สามี)
8) เอกสารอื่นที่พิสูจน์ได้ว่ามีสัญชาติไทยจากส่วนราชการ หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
9) สำเนาสูติบัตรบุตร และทะเบียนบ้านบุตร (ถ้ามี)
10) สำเนาเอกสารหลักฐานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น ใบเปลี่ยนชื่อ, ใบเปลี่ยนนามสกุล ฯลฯ
11) สำเนาหนังสือรับรองความเป็นโสดของคนต่างด้าว
12) เอกสารอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น กรณีที่พักอาศัยไม่ตรงตามทะเบียนบ้าน ให้แสดงหลักฐาน
สัญญาเช่าฯ หรือหนังสือรับรองจากเจ้าบ้านพร้อมแนบสำเนาทะเบียนบ้าน และบัตรประชาชนเจ้า
บ้าน ฯลฯ
13) รูปถ่ายครอบครัว และที่พักอาศัย 4 รูป (หน้าบ้านให้เห็นบ้านเลขที่ 2 รูป, ในบ้าน 2 รูป)
14) แผนที่บ้าน
หมายเหตุ1) ผู้ยื่นคำขอและคู่สมรส ต้องมาติดต่อด้วยตนเอง เพื่อมาให้ปากคำ
2) ให้นำหลักฐานเอกสารตัวจริงมาแสดง และถ่ายเอกสารพร้อมรับรองสำเนาถูกต้องด้วยลายมือ
ชื่อของผู้ยื่นคำขอ กรณีจดทะเบียนสมรสในประเทศไทย กรณีจดทะเบียนสมรสในต่างประเทศ
หมายเหตุ
1) ผู้ยื่นคำขอและบุตร/ภรรยา/สามีผู้มีสัญชาติไทย ต้องมาติดต่อด้วยตนเอง เพื่อมาให้ปากคำ
2) ให้นำหลักฐานเอกสารตัวจริงมาแสดง และถ่ายเอกสารพร้อมรับรองสำเนาถูกต้องด้วยลายมือชื่อของผู้ยื่นคำขอ
กรณีใช้ชีวิตในปั้นปลาย
หลักเกณฑ์การพิจารณา
- คนต่างด้าวต้องได้รับการตรวจลงตรา ประเภทคนอยู่ชั่วคราว
- มีอายุตั้งแต่ 50 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป
- มีหลักฐานการมีเงินได้ไม่น้อยกว่า เดือนละ 65,000 บาท หรือ
- ณ วันยื่นคำขอมีเงินฝากในธนาคารในประเทศไทย (ประเภทออมทรัพย์ธรรมดา / ประจำ) คงอยู่ในบัญชีตลอดระยะ
เวลาย้อนหลัง 3 เดือน ไม่น้อยกว่า 800, 000 บาท เฉพาะในปีแรกให้แสดงบัญชีเงิน
ฝากโดยมีเงินจำนวนดังกล่าวฝากอยู่ในบัญชี
มาแล้วไม่น้อยกว่า 60 วัน หรือ - มีเงินได้ในรอบปี และมีเงินฝากธนาคาร คำนวณรวมกันได้ไม่น้อยกว่า 800,000 บาท
นับถึงวันยื่นคำขอ - คนต่างด้าว ซึ่งเดินทางเข้ามาในราชอาณาจักรก่อนวันที่ 21 ตุลาคม 2541
และได้รับอนุญาตให้อยู่ในราชอาณาจักร เพื่อใช้ชีวิตในบั้นปลายต่อเนื่องตลอดมา
ให้ใช้หลักเกณฑ์ดังนี้
(ก) อายุ 60 ปีขึ้นไป และมีรายได้ที่ แน่นอน โดยมีเงินฝากคงอยู่ในบัญชีตลอด ระยะเวลาย้อนหลัง 3 เดือน ไม่น้อยกว่าปีละ 2000,000 บาท
หรือ มีรายได้ไม่น้อยกว่า เดือนละ 20,000บาท
(ข) อายุไม่ถึง 60 ปี แต่ไม่น้อยกว่า 55 ปี ต้องมีรายได้ที่แน่นอนโดยมีเงินฝากคงอยู่ใน บัญชีตลอดระยะเวลาย้อนหลัง 3 เดือน
ไม่น้อยกว่าปีละ 500,000 บาท หรือ มีรายได้ไม่น้อยกว่าเดือนละ 50,000 บาท
เอกสารประกอบที่ต้องใช้
- แบบคำขอ ตม.7
- สำเนาหนังสือเดินทางของผู้ยื่นคำขอ
- หลักฐานแสดงการมีเงินได้ เช่น เงินบำนาญ หรือการได้รับดอกเบี้ย หรือเงินปันผล เป็นต้น และ / หรือ
- หนังสือรับรองการมีเงินฝากจากธนาคารในประเทศไทย (ประเภทออมทรัพย์ธรรมดา / ประจำ) และสำเนาบัญชีธนาคาร
- เฉพาะกรณีตามหลักเกณฑ์ข้อ (6) ให้แสดง เอกสารเช่นเดียวกับข้อ 1 – 4 ข้างต้น